indiantrends.com

indiantrends.com

วิจัย ลูกประคบ สมุนไพร — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว)

ส. งามรยุ งามดอกไม้ นักศึกษาผู้รับทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก. ) ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. )

งานวิจัยเครื่องนวดไฟฟ้าด้วยสมุนไพร »

  1. 4 เมนูถั่วงอก ที่เคี้ยวเพลินทั้งวัน! - อาหารไทย (Thai food menu)
  2. บทที่ 2 – lukprakop
  3. สาว ๆ ยิ้มออกแน่ ม.นเรศวรวิจัยลูกประคบสมุนไพรลดเซลลูไลท์ได้ผล ขาแน่น ไขมันหาย
  4. Revo หัว เดี่ยว
  5. Abbyy pdf transformer+ ฟรี
  6. วิจัยนาโนสกัดสมุนไพร ใช้เก็บกักอนุภาคลูกประคบ
  7. ICD-10 - วิกิพีเดีย
  8. ขาย HP LaserJet Pro ราคาถูกกว่าทุกที่
  9. ลิ้น หน้า jazz ge.fr
  10. โซฟา big c
  11. การประคบสมุนไพร - สถาบัน/ศูนย์พรหมวชิรญาณ คลินิกแพทย์แผนไทย-จีน
  12. ลำโพง jbl clip2 ราคา มือสอง

การประคบด้วยลูกประคบโดยตรงในตอนแรก ต้องทำด้วยความรวดเร็ว ไม่วางลูกประคบไว้บนผิวหนังผู้ป่วยนานๆ เพราะลูกประคบยังร้อน ผู้ป่วยยังทนความร้อนได้ไม่มาก ผู้ประคบจึงเพียงแต่แตะลูกประคบลงบนผิวหนังแล้วยกขึ้น เลื่อนไปประคบตำแหน่งถัดไปตามแนวกล้ามเนื้อที่ทำการนวดไว้ 4. เมื่อลูกประคบคลายความร้อนลงไปอีก ผู้ประคบสามารถวางลูกประคบให้นานขึ้นได้พร้อมกับกดคลึงด้วยลูกประคบ จนลูกประคบคลายความร้อนไปมากแล้ว จึงเปลี่ยนไปใช้ลูกประคบอีกลูกซึ่งวางอังไอน้ำร้อนเตรียมพร้อมไว้แล้ว ทำการประคบซ้ำจากขั้นตอนที่ 2-4 5. ในขณะประคบ ควรทำการนวดสลับกับการประคบ โดยเฉพาะในตำแหน่งที่มีอาการปวดเมื่อยมาก ระยะเวลาที่ใช้ในการประคบ โดยทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 15-20 นาทีต่อการประคบ 1 ครั้ง ถ้ามีอาการเคล็ดขัดยอก อาจประคบได้วันละ 2 ครั้ง ข้อควรระวังในการประคบ 1. อย่าใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนังที่อ่อน บริเวณที่มีกระดูกยื่น หรือบริเวณที่เคยเป็นแผลมาก่อน ควรใช้ผ้าขนหนูรองหรือใช้ลูกประคบอุ่นๆ 2. ต้องระมัดระวังในกรณีที่เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต เด็กและผู้สูงอายุ เพราะมักมีความรู้ตอบสนองช้า อาจทำให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย ควรใช้ลูกประคบที่ไม่ร้อนจัด 3.

และ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) เพื่อทดสอบเชิงลึกในการหากลไกการยับยั้งการสร้างไขมันหรือกระตุ้นการสลายไขมันจากองค์ประกอบของลูกประคบ และพัฒนาตำรับสูตรเจลลดเซลลูไลท์ที่มีสารสกัดจากลูกประคบ รวมถึงการทดสอบประสิทธิภาพตำรับที่พัฒนาได้ในอาสาสมัครด้วย ด้าน น. ส. งามรยุ งามดอกไม้ หนึ่งในคณะวิจัย กล่าวว่า ลูกประคบดังกล่าวได้รับการจดอนุสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว โดยสมุนไพรหลักที่เป็นสมุนไพรไทยรสร้อน เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต กระตุ้นการสลายไขมัน นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรที่มี ซึ่งมีคาเฟอีนที่เป็นตัวออกฤทธิ์ สลายไขมันอีกด้วย ////// แสดงความคิดเห็น

ลูกประคบสมุนไพร - โครงงานวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น(Kruorawan)

ผม ร่วง เพราะ ฮอร์โมน

ฤทธิ์ลดการอักเสบ 2. ฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะที่ 3. ฤทธิ์ต้านฮิสตามีน 4. ฤทธิ์แก้ปวด 5. ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย 6. ฤทธิ์ต้านเชื้อรา 7.

ลูกประคบสมุนไพร - GotoKnow

#ตำบลบ้านเรือ #สำนักบริการวิชาการ #มหาวิทยาลัยขอนแก่น #บ้านเรือ โดย: สุทธิดา สร้องสิงห์ 8 ก. ค. 2564, 11:09 1 0 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชนตำบลบ้านเรือ ร่วมกับผู้ปฎิบัติงานภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมในตำบลแบบบรูณาการ และคณะอาจารย์สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยากร อาจารย์สุกัญญา จันทร์สิงห์ ผู้มาให้ความรู้กี่ยวกับการทำสมุนไพรลูกประคบให้แก่ประชาชนในตำบลบ้านเรือ #ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเรือ

วิจัยลูกประคบสมุนไพร

หั่นหัวไพร ขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ต้นตะไคร้ และเถาเอ็นอ่อน แล้วตำพอหยาบ 2. ปอกผิวมะกรูดออกหั่น แล้วตำพอหยาบ 3. นำส่วนผสมในข้อ 1 และ 2 มาตำรวมกับใบมะขาม และใบส้มป่อย 4. ใส่การบูรและพิมเสนลงไป ผสมให้เข้ากัน ตำต่อไปให้แหลก แต่อย่าถึงกับละเอียด เพราะลูกประคบจะแฉะ 5. แบ่งตัวยาที่ตำได้เป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน ใช้ผ้าขาวห่อ รัดด้วยเชือกให้แน่น จะได้ลูกประคบ 2 ลูก วิธีการประคบ อุปกรณ์ที่ใช้ 1. หม้อดินใส่น้ำครึ่งหนึ่งตั้งบนเตาไฟจนมีไอน้ำร้อน 2. จานรองลูกประคบ 3. ลูกประคบ 2 ลูก ลูกหนึ่งวางไว้บนปากหม้อดินที่มีไอน้ำร้อนอีกลูกวางไว้ที่จานรองลูกประคบ ขั้นตอนในการประคบ หลังจากที่ทำการนวดร่างกายของผู้ป่วยเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. จัดท่าของผู้ป่วยให้เหมาะสม เช่น อาจนอนหงาย นอนคว่ำ หรือนอนตะแคง ขึ้นกับตำแหน่งที่จะทำการประคบ 2. เมื่อลูกประคบที่อังไอน้ำร้อนดีแล้ว ผู้ประคบใช้มือจับลูกประคบให้เต็มอุ้งมือ ยกขึ้นจากปากหม้อ (แล้วเอาลูกประคบอีกลูกวางบนปากหม้อแทน) ลองใช้ลูกประคบแตะบริเวณท้องแขนของตนเอง ถ้าลูกประคบยังร้อนมาก ให้ใช้ฝ่ามืออีกข้างแตะลูกประคบแล้วใช้ฝ่ามือไปนาบบริเวณที่ต้องการประคบ เป็นการถ่ายเทความร้อนซึ่งผู้ป่วยจะไม่รู้สึกร้อนเกินไป ให้ทำหลายๆ ครั้ง จนลูกประคบคลายความร้อนลงไปบ้างแล้ว จึงสามารถเอาลูกประคบลงไปประคบโดยตรงได้ 3.

การประคบสมุนไพร - สถาบัน/ศูนย์พรหมวชิรญาณ คลินิกแพทย์แผนไทย-จีน

จัดท่าคนไข้ให้เหมาะสม เช่น นอนหงาย นั่ง นอนตะแคง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่จะทำการประคบสมุนไพร ๒. นำลูกประคบที่ได้รับความร้อนได้ที่แล้วมาประคบบริเวณที่ต้องการประคบ (การทดสอบความร้อนของลูกประคบคือแตะที่ท้องแขนหรือหลังมือ) ๓. ในการวางลูกประคบบนผิวหนังคนไข้โดยตรงในช่วงแรก ๆ ต้องทำด้วยความเร็ว ไม่วางแช่นาน ๆ เพราะคนไข้จะทนความร้อนไม่ได้มาก ๔. เมื่อลูกประคบคลายความร้อนลงก็สามารถเปลี่ยนลูกประคบอีกลูกหนึ่งแทน (นำลูกเดิมไปนึ่งต่อ) ทำซ้ำตามข้อ ๒, ๓ วิธีเก็บรักษาลูกประคบ ๑. ลูกประคบสมุนไพรที่ทำในแต่ละครั้ง สามารถเก็บไว้ใช้ซ้ำได้ ๓-๕ วัน ๒. ควรเก็บลูกประคบไว้ในตู้เย็น จะทำให้เก็บได้นานขึ้น (ควรตรวจสอบลูกประคบด้วย ถ้ามีกลิ่นบูดหรือเหม็นเปรี้ยวไม่ควรเก็บไว้) ๓. ถ้าลูกประคบแห้ง ก่อนใช้ควรพรมด้วยน้ำหรือเหล้าขาว ๔. ถ้าลูกประคบที่ใช้ไม่มีสีเหลืองหรือสีเหลืองอ่อนลง แสดงว่ายาที่ใช้จืดแล้ว (คุณภาพน้อยลง) จะใช้ไม่ได้ผลควรเปลี่ยนลูกประคบใหม่ ๕. ลูกประคบ ๑ คู่ สามารถนำมาใช้ในการรักษาได้ ๓ ครั้ง ข้อควรระวัง ๑. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนังอ่อน ๆ หรือบริเวณที่เคยเป็นแผลมาก่อน ถ้าต้องการใช้ควรมีผ้าขนหนูรองก่อนหรือรอจนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลงจากเดิม ๒.

บทที่ 3 อุปกรณ์และการดำเนินงาน การจัดทำสมุนไพรลูกประคบ คณะผู้จัดทำโครงงานมีวิธีดำเนินโครงงานตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนการดำเนินการ 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพร 3. ศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่น 4. ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 2. สมุนไพรที่นำมาทำลูกประคบดังนี้ 1. ไพล 10 กรัม ตะไคร้หอม 3. ขมิ้นชัน 10 กรัม 4. ขมิ้นอ้อย 10 กรัม 5. ใบมะกรูด 10 กรัม 6. ใบมะขาม 10 กรัม 7. ใบส้มป่อย 10 กรัม 8. ใบขี้เหล็ก 9. เกลือแกง 10 กรัม 10. พิมเสน 10 กรัม 11. การบูร 10 กรัม 3. วัสดุอื่นๆ 1. ผ้าขามบางขนาดกว้าง x ยาว 13 นิ้ว x 13 นิ้ว / ผืน 2. กรรไกร/เครื่องชั่ง 3. มีด กระด้ง ถาด 4. เชือกขาว 5. กะละมังเล็ก ทัพพีสำหรับสมุนไพร ช้อนสำกรับตักสมุนไพร ขั้นตอนการผลิต ล้างสมุนไพรให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นเล็กๆโขลกพอเเหลกใส่เกลือ พิมเสน การบูร คลุกให้เข้ากัน เเบ่งเป็น 2-3 ส่วน 2. นำส่วนทั้งหมดมาวางตรงกลางของผ้า เริ่มต้นจับมุมผ้าทีละ 2 มุม ขึ้นมาทบกัน จับจนครบทั้ง 4 มุม ให้รวบมุมผ้าที่ละมุม อีกครั้งหนึ่งจนครบอีกทั้ง 4 มุม 3. แต่ง ชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียวจากนั้นค่อย ๆจัดแต่งลูกประคบให้เป็นรูปทรงกลมที่สวยงาม มัดด้วยเชือกที่ทำเป็นห่วงคล้อง แล้วมัดปมให้แน่น การทำด้ามจับ โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซ้อนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้วพับเข้าหากันเพื่อเก็บซ่อนชายผ้าทั้งสองด้าน 5.

29ม. ค. 62-นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อยอดภูมิปัญญาไทยพัฒนา "ลูกประคบลดเซลลูไลท์" จากสมุนไพรหลากชนิด ผลการทดสอบในอาสาสมัครได้z]จริงและปลอดภัย เตรียมพัฒนาผลิตภัณฑ์เจลต่อ ปัญหาเซลลูไลท์ที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง เนื่องมาจากไขมันส่วนเกินในชั้นใต้ผิวหนังที่สะสมพอกพูนหนาขึ้น จนทำให้เกิดเป็นลักษณะผิวหนังขรุขระ ไม่เรียบเนียน แลดูเป็นคลื่นคล้ายผิวเปลือกส้ม คณะวิจัยจากสถานวิจัยเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งมี รศ. ดร.

การประคบสมุนไพร การประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรหลายอย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหยโดยนำมานึ่งให้ร้อน ประคบบริเวณที่ปวดหรือเคล็ดขัดยอกซึ่งน้ำมันหอมระเหยเมื่อถูกความร้อนจะระเหยออกมา ความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตดีขึ้น และยังมีสารสำคัญจากสมุนไพรบางชนิดที่ซึมเข้าทางผิวหนัง ช่วยรักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก และลดปวดได้ ประโยชน์ของการประคบ ๑. บรรเทาอาการปวดเมื่อย ๒. ช่วยลดอาการบวม อักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ หลัง ๒๔-๔๘ ชั่วโมง ๓. ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ๔. ช่วยให้เนื้อเยื่อ พังผืดยืดตัวออก ๕. ลดการติดขัดของข้อต่อ ๖. ลดอาการปวด ๗. ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ตัวยาที่นิยมใช้ทำลูกประคบ ๑. ไพล แก้ปวดเมื่อย ลดการอักเสบ ๒. ผิวมะกรูด ถ้าไม่มีใช้ใบแทนได้ มีน้ำมันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน ๓. ตะไคร้บ้าน แต่งกลิ่น ๔. ใบมะขาม แก้อาการคันตามร่างกาย ช่วยบำรุงผิว ๕. ขมิ้นชัน ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง ๖. เกลือ ช่วยดูดความร้อน และช่วยพาตัวยาซึมผ่านผิวหนังได้สะดวกขึ้น ๗. การบูร แต่งกลิ่น บำรุงหัวใจ ๘. ใบส้มป่อย ช่วยบำรุงผิว แก้โรคผิวหนัง ลดความดัน วิธีการประคบ ๑.

June 7, 2022