indiantrends.com

indiantrends.com

อนุสัญญา กรุง เวียนนา

บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ผ่ายธุรการ และฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตนตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ จะได้อุปโภคเอกสิทธิและความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ ๒๙ ถึง ๓๕ เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางเพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับที่ได้ระบุไว้ในวรรค ๑ ของข้อ ๓๑ นั้น ไม่ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปนอกวิถีทางของหน้าที่ของตน บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการ จะได้อุปโภคเอกสิทธิที่ได้ระบุไว้ในข้อ ๓๖ วรรค ๑ ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย ๓. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับหรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ จะได้อุปโภค ความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปในวิถีทางของหน้าที่ของตน การยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผลของการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ ๓๓ ๔. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับหรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผลของการรับจ้างของตนในส่วนอื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้อาจได้อุปโภคเอกสิทธิและความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ในทำนองเช่นที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน ข้อ ๓๘ ๑.

  1. อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต
  2. อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางฑูต (ข้อ 31-40) - GotoKnow
  3. หลักความละเมิดมิได้ของสถานที่ทางกงสุล: กรณีสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไทย ณ นครอิสตันบูล | ประชาไท Prachatai.com
  4. อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา pdf
  5. #ม็อบ26ตุลา โชว์เอกสาร 'สถานทูตเยอรมนี' ยอมรับ 'ชุมนุมอย่างสันติ' ในไทย - The Bangkok Insight

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต

อนุสัญญากรุงเวียนนา 1969

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางฑูต (ข้อ 31-40) - GotoKnow

อนุสัญญานี้จะเริ่มใช้บังคับในวันที่สามสิบต่อจากวันมอบสัตยาบันสาร หรือภาคยานุวัติสาร ฉบับที่ยี่สิบสอง ไว้กับเลขาธิการสหประชาชาติ ๒.

หลักความละเมิดมิได้ของสถานที่ทางกงสุล: กรณีสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไทย ณ นครอิสตันบูล | ประชาไท Prachatai.com

Author เพชรณพัฒน์ ศรีวุทธิยประภา, ผู้แต่ง Title อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญญา ค. ศ. 1969 = Vienna Convention on the Law of Treaties 1969 / เพชรณพัฒน์ ศรีวุทธิยประภา Imprint กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2561 Edition พิมพ์ครั้งที่ 1 Descript 142 หน้า; 21 ซม CONTENT ข้อมูลทั่วไปของอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา -- การจัดทำและการมัผลการใช้บังคับของสนธิสัญญา -- การเคารพ การใช้บังคับและการตีความสนธิสัญญา -- การแก้ไขเพิ่มเติมและการเปลี่ยนแปลงสนธิสัญญา -- ความไม่สมบูรณ์ การสิ้นสุดและการระงับผลบังคับของสนธิสัญญา -- ผู้เก็บรักษาสนธิสัญญา การบอกกล่าว ก่ีแก้ไข การจดทะเบียน และการเผยแพร่สนธิสัญญา -- ภาคีแห่งอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค. 1969 SUBJECT อนุสัญญากรุงเวียนนา สนธิสัญญา กฎหมายระหว่างประเทศ LOCATION CALL# STATUS Law Library (3rd Floor) K/TH 996-1 พ874อ 2561 CHECK SHELVES Law Library (3rd Floor) K/TH 996-1 พ874อ 2561 CHECK SHELVES

อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา pdf

หลักเกณฑ์และผลทางกฎหมายของการไม่ปฏิบัติตามพันธกรณี อันเป็นสาระสำคัญของสนธิสัญญาตามมาตรา 60 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค. ศ. 1969 อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา (ค. 1969), สัญญาระหว่างประเทศ., การผิดสัญญา. จำนวนผู้เข้าชม 923 เอกสารดิจิทัล {{}} {{le_name_original}} ปรับ Speed ความเร็วของเสียง {{controlsAudio[c_id]}} Video รายการที่เกี่ยวข้อง

#ม็อบ26ตุลา โชว์เอกสาร 'สถานทูตเยอรมนี' ยอมรับ 'ชุมนุมอย่างสันติ' ในไทย - The Bangkok Insight

พ. ร. บ. ว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางทูต พ. 2527 ซึ่งเป็นกฎหมายอนุวัติการของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต พ. 2504 2. ว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล พ. 2541 ซึ่งเป็นกฎหมายอนุวัติการของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ. 2506 สำหรับตำแหน่งที่ได้รับเอกสิทธิ์นี้ ทางการทูต คือ กลุ่มนักการทูตหรือเจ้าหน้าที่ทูต (Diplomat) ซึ่งมีหลากหลายตำแหน่งตามลำดับชั้นดังนี้ 1. เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary) 2. อัครราชทูต (Minister) 3. อุปทูต (Chargé d'Affaires) 4. อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counsellor) 5. ที่ปรึกษา (Counsellor) 6. เลขานุการเอก (First Secretary) 7. เลขานุการโท (Second Secretary) 8. เลขานุการตรี (Third Secretary) 9. นายเวร (Attaché) 10. กงสุลใหญ่ (Consul General) 11. กงสุล (Consul) 12. รองกงสุล (Vice Consul) 13. กงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consul) สำหรับกรณีของทหารอียิปต์นั้น ถือเป็นช่องโหว่ของความไว้ใจจากการให้เอกสิทธิ์เพิ่มเติมในสถานการณ์ของการระบาดโควิด-19 ที่รัฐบาลเองไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะเกิดขึ้นได้จากพฤติกรรมเฉพาะตัวที่ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงในการควบคุมโรค จนทำให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสื่อมวลชนถึงพฤติกรรมของกลุ่มของทหารอียิปต์ว่า "รับปากแล้วไม่มีความรับผิดชอบ และไม่นึกถึงต่อส่วนรวม" ความไว้ใจที่ถูกทำลายด้วยตัวแทนทางการทูตเพียงคนเดียวอย่างทหารอียิปต์ จึงเป็นผลตัวแทนทางการทูตทั้งหมดถูกยกเลิกสิทธิพิเศษบางประการที่รัฐบาลมอบให้ทั้งหมดจำนวน 3 ข้อ ตามมติที่ประชุม ศบค.

รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษีและค่าภาระเกี่ยวข้องทั้งมวลนอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ในทำนองเดียวกันตามกฎหมายและข้อบังคับซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้ แก่ ( ก) สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทน ( ข) สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางทูต รวมทั้งสิ่งของที่ได้เจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางทูตด้วย ๒. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางทูตจะได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ในวรรค ๑ ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกต้องห้ามตามกฎหมายหรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้จะกระทำต่อหน้าตัวแทนทางทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางทูตเท่านั้น ข้อ ๓๗ ๑. คนในครอบครัวของตัวแทนทางทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางทูต ถ้าไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ จะได้อุปโภคเอกสิทธิและความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ ๒๙ ถึง ๓๖ ๒.

  1. อบรมหลักสูตร Super เลขา ผู้ช่วยผู้บริหาร ผู้ประสานงานอย่างมืออาชีพ | สัมมนาดีดี ดอท คอม
  2. อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญญา ค.ศ.1969 = Vienna Convention on the Law of Treaties 1969 / เพชรณพัฒน์ ศรีวุทธิยประภา
  3. เครดิตฟรี ไม่ต้อง ไล ค์ ไม่ต้องแชร์ 2010 edition

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ให้สัตยาบันแล้ว ลงนามอย่างเดียว วันลงนาม 23 พฤษาภคม ค. ศ. 1969 ที่ลงนาม กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย วันมีผล 27 มกราคม ค. 1980 เงื่อนไข ได้รับสัตยาบันจากรัฐสามสิบห้ารัฐแล้ว [1] ผู้ลงนาม หนึ่งร้อยยี่สิบหก ภาคี หนึ่งร้อยสิบเอ็ด (เมษายน ค. 2011) ผู้เก็บรักษา เลขาธิการสหประชาชาติ ภาษา จีน, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย และสเปน [1] อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ( อังกฤษ: Vienna Convention on the Law of Treaties) เป็นสนธิสัญญาเกี่ยวกับ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ในเรื่องสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่าง รัฐกับรัฐ โดยเป็นการนำ กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ มาประมวลไว้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร อนุสัญญาฯ นี้เป็นที่ตกลงรับในวันที่ 22 พฤษภาคม ค. 1969 [2] เปิดให้ลงลายมือชื่อในวันรุ่งขึ้น [1] และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม ค. 1980 [1] นับตั้งแต่เดือนเมษายน ค. 2011 สืบมา มีรัฐหนึ่งร้อยสิบเอ็ดรัฐให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาฯ นี้แล้ว [3] ประวัติ [ แก้] คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ (International Law Commission) แห่ง สหประชาชาติ เริ่มยกร่างอนุสัญญาฯ นี้ใน ค.

June 7, 2022